แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนที่2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.คำว่า "ระบบ" และวิธิการเชิงของระบบ หมายถึงอะไร
คำตอบ คำว่า ระบบ คือ การทำงานขององค์ประกอบย่อยๆ มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันจนกลายเป็นโครงสร้างที่สมบูรณ์ และสามารถตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขได้ทุกขั้นตอบ และวิธีการเชิงระบบ หมายถึง กระบวนการคิดหรือการทำงานอย่างมีระบบแบบแผนชัดเจนในการนำเนื้อหาความรู้ด้านต่างๆมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นขั้นตอน
คำตอบ คำว่า ระบบ คือ การทำงานขององค์ประกอบย่อยๆ มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันจนกลายเป็นโครงสร้างที่สมบูรณ์ และสามารถตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขได้ทุกขั้นตอบ และวิธีการเชิงระบบ หมายถึง กระบวนการคิดหรือการทำงานอย่างมีระบบแบบแผนชัดเจนในการนำเนื้อหาความรู้ด้านต่างๆมาประยุกต์ใช้อย่างเป็นขั้นตอน
2.องค์ประกอบสำคัญของวิธีระบบได้แก่อะไร
คำตอบ 1.ปัจจัยนำเข้า 2. กระบวนการ 3.ผลลัพธ์
คำตอบ 1.ปัจจัยนำเข้า 2. กระบวนการ 3.ผลลัพธ์
1.ปัจจัยนำเข้า ( Input)
วัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ วัตถุประสงค์ ปัญหา ความต้องการข้อกำหนด กฎเกณฑ์ อันเป็นต้นเหตุของประเด่นปัญหา
2. กระบวนการ (Process)
วิธีการขั้นตอนในการปฏิบัติงานการสร้างสรรค์ การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาและปัจจัย
3. ผลลัพธ์(Output)
ผลงานที่ได้จากกระบวนการจัดการวัตถุดิบหรือปัจจัยนำเข้าผลงานที่ได้รับอาจจะเป็นวิธีการหรือชิ้นงานก็ได้ซึ่งสามารถประเมินผลและตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับได้
3.ระบบสารสนเทศ หมายถึง อะไร
คำตอบ คือการประมวลผลข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นกระบวนการเพื่อให้ข้อมูลในรูปของข่าวสารที่เป็นประโยชน์สูงสุด
คำตอบ คือการประมวลผลข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นกระบวนการเพื่อให้ข้อมูลในรูปของข่าวสารที่เป็นประโยชน์สูงสุด
4.องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ ได้แก่อะไร
คำตอบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ ระบบความคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอน ในการจัดอันดับ จำแนก แจกแจง จัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆ ระบบเครื่องมือ หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ สารสนเทศที่นิยมในการดำเนินไปอย่างมีคุณภาพ
คำตอบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ ระบบความคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอน ในการจัดอันดับ จำแนก แจกแจง จัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆ ระบบเครื่องมือ หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ สารสนเทศที่นิยมในการดำเนินไปอย่างมีคุณภาพ
5.สารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ด้านขั้นตอน และสารสนเทศทั่วไปแต่ละด้านประกอบอะไร
คำตอบ สารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ประกอบด้วย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการดังนี้
คำตอบ สารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ประกอบด้วย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการดังนี้
- ข้อมูล (Data)
- สารสนเทศ(Information)
- ความรู้(Knowledge)
- ปัญญา(Wisdom)
- ความรู้(Knowledge)
- ปัญญา(Wisdom)
สารสนเทศด้านขั้นตอน ประกอบด้วย องค์ประกอบของสารสนเทศด้านขั้นตอน ในการดำเนินงานมี 3 ประการ คือ ข้อมูลนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) การทำงานจะเริ่มตั้งแต่การเปลี่ยนข้อมูลดิบที่เข้ามาสู่การคำนวณประมวลผลหรือการกลั่นกรองจนได้ชิ้นงานหรือผลลัพธ์ (output) และจัดเก็บเพื่อนำออกมาเผยแพร่ในลักษณะของสารสนเทศต่อไป สารสนเทศทั่วไป
องค์ประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป (Information Process Systems)
- เครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสารข้อมูล(Hardware)
- ข้อมูล(Data)
- สารสนเทศ(Information)
- โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์(Software)
- บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์(People ware)
- สารสนเทศ(Information)
- โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์(Software)
- บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์(People ware)
6.โดยทั่วไปการจัดระบบสารสนเทศมีขั้นตอนการจัดการอย่างไร
คำตอบ ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อย คือ
1. วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน (Mission Analysis)
2. วิเคราะห์หน้าที่ (Functional Analysis)
3. วิเคราะห์งาน (Task Analysis)
4. วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (Method-Means Analysis)ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ (System Synthesis)
วิธีการสังเคราะห์ระบบช่วยเกลี่ยน้ำหนักเนื้อหาหรือภาระงานของขั้นตอนต่างๆ ให้มีความสมดุลในการแก้ปัญหาซึ่งมีขั้นตอนย่อย ดังนี้ 1. การเลือกวิธีการหรือกลวิธี เพื่อหาช่องทางไปสู่จุดมุ่งหมายแล้วทดสอบและทดลองกลวิธี เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมกับสารสนเทศที่วิเคราะห์และสังเคราะห์ไว้
2.ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเลือกกลวิธีที่เหมาะสมที่วางแผนแล้วก่อนใช้กลวิธีนั้นดำเนินการแก้ปัญหา
3. ประเมินผลประสิทธิภาพ การดำเนินงานโดยการแก้ปัญหา แล้วประเมินผลเพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ได้
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง (Construct a Model)แบบจำลองเป็นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ออกมาเป็นภาพที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งอาจเป็นภาพลายเส้น หรือรูปสามมิติ แบบจำลองระบบทำให้เข้าใจโครงสร้าง องค์ประกอบ และขั้นตอนในการดำเนินงาน สามารถตรวจสอบหรือทำนายผลที่จะเกิดขึ้นก่อนที่จะนำระบบไปใช้จริง
คำตอบ ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อย คือ
1. วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน (Mission Analysis)
2. วิเคราะห์หน้าที่ (Functional Analysis)
3. วิเคราะห์งาน (Task Analysis)
4. วิเคราะห์วิธีการและสื่อ (Method-Means Analysis)ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ (System Synthesis)
วิธีการสังเคราะห์ระบบช่วยเกลี่ยน้ำหนักเนื้อหาหรือภาระงานของขั้นตอนต่างๆ ให้มีความสมดุลในการแก้ปัญหาซึ่งมีขั้นตอนย่อย ดังนี้ 1. การเลือกวิธีการหรือกลวิธี เพื่อหาช่องทางไปสู่จุดมุ่งหมายแล้วทดสอบและทดลองกลวิธี เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมกับสารสนเทศที่วิเคราะห์และสังเคราะห์ไว้
2.ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยเลือกกลวิธีที่เหมาะสมที่วางแผนแล้วก่อนใช้กลวิธีนั้นดำเนินการแก้ปัญหา
3. ประเมินผลประสิทธิภาพ การดำเนินงานโดยการแก้ปัญหา แล้วประเมินผลเพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ได้
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง (Construct a Model)แบบจำลองเป็นการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ออกมาเป็นภาพที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งอาจเป็นภาพลายเส้น หรือรูปสามมิติ แบบจำลองระบบทำให้เข้าใจโครงสร้าง องค์ประกอบ และขั้นตอนในการดำเนินงาน สามารถตรวจสอบหรือทำนายผลที่จะเกิดขึ้นก่อนที่จะนำระบบไปใช้จริง
7.ระบบสารสนเทศระดับบุลคล ระดับกลุ่ม กับระบบองค์กรแตกต่างกันอย่างไร
คำตอบ มีหน้าที่แตกต่างกันคือ ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคล ในหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ระบบวิเคราะห์ข้อมูลการขายระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทำงานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายการทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ระบบบริการลูกค้า การประชุมผ่านเครือข่าย ระบบการไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดตารางเวลาของกลุ่มระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรในภาพรวม เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานร่วมกันของหลายแผนกโดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกันด้วยวิธีส่งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่ง
8.ข้อมูลและความรู้ คืออะไร มีความสำคัญกับสารสนเทศอย่างไร
คำตอบ ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่ปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า ทั้งที่สามารถนับได้และนับไม่ได้ มีคุณลักษณะเป็นวัตถุสิ่งของ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และต้องเป็นสิ่งมีความหมายในตัวมันเองซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของรูปภาพ แสง สี เสียง รสความรู้ เป็นสภาวะทางสติปัญญาของมนุษย์ในการตีความสิ่งเร้าทั้งที่อยู่ภายในและภายนอกด้วยความเข้าใจสาระของเนื้อหา กระบวนการ และขั้นตอน อาจอยู่ในรูปของข้อมูลดิบหรือสารสนเทศระดับต่าง ๆ หรืออาจอยู่ในรูปของอารมณ์ความรู้สึกและเหตุผล มีความสำคัญกับสารสนเทศคือสารสนเทศ (informational) ข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรองโดยการจำแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ การคำนวณและประมวลผลแล้ว สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพต่อไปได้
9.การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศมีขั้นตอนอย่างไร
คำตอบ การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีวิธีการจัดการดังนี้
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล (Data processing steps) มีการประมวลผลตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่เหมาะสม ดังนี้
คำตอบ การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ มีวิธีการจัดการดังนี้
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล (Data processing steps) มีการประมวลผลตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่เหมาะสม ดังนี้
1.การรวบรวมข้อมูล (Data collection) หมายถึงการเก็บข้อมูลจำนวนมากจากแหล่งกำเนิด (capturing) มาทำการเข้ารหัส (Coding) ในรูปที่เหมาะสมต่อการจัดเก็บ และการบันทึก (recording) ในสื่อที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้นาน ๆ
2. การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล (Data Maintenance Processing) เป็นกระบวนการเก็บรักษาข้อมูลไว้ให้ใช้ได้ตลอดไป ซึ่งอาจประกอบด้วยปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา (updating) ทำการแยกประเภท (classifying) จัดเรียงข้อมูล (sorting) และคำนวณหาข้อมูลใหม่จากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว (calculating) เพื่อให้ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น
3. การจัดการข้อมูล (Data Management) คือการสร้างระบบจัดการข้อมูลจำนวนมาก ให้สามารถนำมาใช้งานได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ซึ่งประกอบด้วยการจัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. การควบคุมข้อมูล (Data Control) เป็นการป้องกันรักษาข้อมูลที่จัดเก็บไว้แล้วให้ปลอดภัยไม่ให้ข้อมูลที่มีค่าถูกขโมยไปใช้งานอย่างไม่ถูกต้อง
5. การสร้างสารสนเทศ (Information Generation) เป็นการตีความหมายของข้อมูลที่ได้มาแล้ว ค้นหาความหมายหรือความสำคัญที่มีคุณค่าของข้อมูลที่ได้โดยการนำไปประมวลผลด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น การคำนวณ การเรียงข้อมูล (sorting) การค้นหา (searching)
2. การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล (Data Maintenance Processing) เป็นกระบวนการเก็บรักษาข้อมูลไว้ให้ใช้ได้ตลอดไป ซึ่งอาจประกอบด้วยปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา (updating) ทำการแยกประเภท (classifying) จัดเรียงข้อมูล (sorting) และคำนวณหาข้อมูลใหม่จากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว (calculating) เพื่อให้ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น
3. การจัดการข้อมูล (Data Management) คือการสร้างระบบจัดการข้อมูลจำนวนมาก ให้สามารถนำมาใช้งานได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ซึ่งประกอบด้วยการจัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4. การควบคุมข้อมูล (Data Control) เป็นการป้องกันรักษาข้อมูลที่จัดเก็บไว้แล้วให้ปลอดภัยไม่ให้ข้อมูลที่มีค่าถูกขโมยไปใช้งานอย่างไม่ถูกต้อง
5. การสร้างสารสนเทศ (Information Generation) เป็นการตีความหมายของข้อมูลที่ได้มาแล้ว ค้นหาความหมายหรือความสำคัญที่มีคุณค่าของข้อมูลที่ได้โดยการนำไปประมวลผลด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น การคำนวณ การเรียงข้อมูล (sorting) การค้นหา (searching)
10.จงกล่าวถึงเครือข่ายสื่อสารข้อมูลที่มีขนาดพื้นที่และจำนวนเครื่องที่ใช้งานแตกต่างกันอย่างไร
ตำตอบ เครือข่ายสื่อสารข้อมูล คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนกันได้
ตำตอบ เครือข่ายสื่อสารข้อมูล คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนกันได้
1. แลน (LAN = Local Area Network) คือเครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ จำกัดเขตเฉพาะภายในบริเวณอาคารหรือกลุ่มอาคารที่อยู่ใกล้กัน เนื่องจากข้อจำกัดของตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูล เช่น ภายในรั้วโรงเรียนหรื
2. แวน (WAN = Wide Area Network) คือเครือข่ายบริเวณกว้าง ระยะทางมากกว่า 10 กิโลเมตรขึ้นไปจนมากกว่าหลายพันกิโลเมตร ปกติเชื่อมโยงด้วยระบบสื่อสารสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ เครือข่ายเส้นใยแก้วนำแสง หรือเครือข่ายสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น
3. อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครือข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครือข่ายแวนจำนวนมาก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทั่วโลกอมหาวิทยาลัย
3. อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครือข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครือข่ายแวนจำนวนมาก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทั่วโลกอมหาวิทยาลัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น